Author Topic: เขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว ทุ่งกะมัง จ.ชัยภูมิ (3 วัน 2 คืน)  (Read 64661 times)

Offline designbydx

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
    • View Profile
แสงสีทองสาดส่อง ผมขอบมากเลยนะตอนนี้

Offline designbydx

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
    • View Profile
อีกภาพ เสียดายถ่ายวีดีโอมาแล้วกล้องมันสั่น

Offline designbydx

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
    • View Profile
มีเด็กๆ มาศึกษาธรรมชาติ เข้าค่าย

Offline designbydx

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
    • View Profile
สายมากแล้วกลับมากินข้าวก่อน แล้วจะไปเดินเส้นทางศึกษาธรรมชาติ

Offline designbydx

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
    • View Profile
เส้นทางศึกษาธรรมชาติ ยาวประมาณ 2 กม. ไม่มีใครเดินไปด้วย แต่ก็อยากไป ไปก็ไปว่ะ

Offline designbydx

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
    • View Profile
จุดสุดท้ายอาจจะเจอช้าง อุแม้เจ้าาาา ถ้าเจอทำไง (ผมไม่มีเจ้าหน้าที่นำไปเองเลย) จนท. เล่าว่าเคยมีคนถูกช้างไล่หลงป่า 7 วัน ไม่ตาย เขากินใบไม้ ที่สัตว์กินได้ เราก็ต้องกินได้ เอิ่มม คงไม่อร่อย

Offline designbydx

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
    • View Profile
ไปเจอห้ามเข้าไป เรียกว่าบ่อนก คืนบ่อน้ำสำหรับนกนั่นล่ะ แม่จะเข้าไปดูสักหน่อยว่าเป็นไง ไม่เคยเห็น

Offline designbydx

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
    • View Profile
เดินมาประมาณ 300 กว่าเมตรจะเจอต้นกร่าง ใหญ่มากกก อยู่คนเดียวก็เหวอออ ไม่ใช่น้อยนะ แต่ก็ถ่ายรูปหลายมุมอยู่ เสียงแปลกๆ เยอะมากจุดนี้ ต้องสะกดจิตตัวเองไม่ให้คิดมาก
« Last Edit: มกราคม 15, 2015, 06:09:16 pm by designbydx »

Offline designbydx

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
    • View Profile
"กร่าง" ไทรพันขนาดใหญ่ให้ผลสุก 1-3 ครั้งต่อปี ผลไทร(Fig Tree Seed) แหล่งโปรตีนของสัตว์ป่าบางชนิดโปรตีนที่มากมาย
ในผลไทรคือ "ต่อไทร"(FIg wasps) แมลงซึ่งมีขนาดเล็กมาก นอกจานี้ยังมีความสำคัญในการช่วย
ผสมเกสรดอกไทรที่ซ่อนอยู่ในผลไทรที่เราเห็นนั่นเอง โดยต่อไทรตัวผู้มีชีวิตเพื่อผสมพันธุ์กับต่อไทรตัวเมียแล้วตายไป
ส่วนตัวเมียมีหน้าที่เสาะหาผลไม้ไทรอื่นเพื่อทำรังวางไขาแล้วจึงตายตามตัวผู้ไป เมื่อมีจำนวนต่อไทรที่ตายอยุ่ในผลไทรมาก
จึงกลายเป็นแหล่งโปรตีนที่สำคัญให้สัตว์ป่านานาชนิดได้เข้าใช้ประโยชน์จากลูกไทร เมื่อถึงฤดูที่ผลไทยสุก ณ ที่แห่งนี้เปรียบเสมือนมีงาน
เลี้ยงที่จัดขึ้นโดยมิได้นัดหมายของสรรพสัตว์ และจะเป็นเช่่นนี้อยู่นานแรมเดือนจนกว่าลูกไทรจะหมดจากต้นแต่บางชีวิตในป่า
ก็ยังไม่ลาจากต้นไทร เพราะยังใช้ต้นไทรเป็นที่หลับนอนประจำ
« Last Edit: มกราคม 15, 2015, 06:09:01 pm by designbydx »

Offline designbydx

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
    • View Profile
ท้องฟ้าสวย รูปนึง ;D

Offline designbydx

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
    • View Profile
ดอกไม้ที่เจอ

Offline designbydx

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
    • View Profile
มีน้อยครับ

Offline designbydx

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
    • View Profile
กล้วยไม้ดินไหม??

Offline designbydx

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
    • View Profile
ป้ายบอกทางหล่นอยู่บนพื้นเล่นเอาสับสน จะหลงไหมเนี่ย

Offline designbydx

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
    • View Profile
โป่ง แหล่งเสริมอาหารสัตว์ป่า เมื่อพูดถึงโป่งหลายคนจะรู้จักดี โดยเฉพาะผู้ที่ชื่นชอบกิจกรรมเดินป่าศึกษาธรรมชาติ
โป่ง คือ บริเวณหรือพื้นที่ที่สามารถพบแร่ธาตุชนิดต่างๆ เช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัส โปแตสเซียม โซเดียม
แมกนีเซียม กำมะถัน ไอโอดีน และเหล็ก เป็นต้น ซึ่งแร่ธาตุเหล่านี้ล้วนมีความจำเป็นต่อร่างกายและ การ
ดำรงชิวิตของสัตว์ป่า โดยเฉพาะสัตว์ป่าที่กินพืชเป็นอาหาร(hervivore) เช่น กวาง เก้ง กระทิง วัวแดง
นก และช้างป่า เป็นต้น เนื่องจากพืชที่สัตว์กินเข้าไปไม่มีส่วนประกอบของแร่ธาตุดังกล่าว สัตว์ป่าจึงต้องทดแทน
โดยการกินดินหรือน้ำ จากโป่ง

โป่งที่พบโดยทั่วไปมี 2 แบบ คือ โป่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ(มี 2 แบบโป่งดิน และโป่งน้ำ) และแบบมนุษย์สร้างขึ้น(โป่งเทียม)
« Last Edit: มกราคม 15, 2015, 06:15:29 pm by designbydx »

Offline designbydx

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
    • View Profile
ต้นกฤษณา ทองคำสีดำ
ต้นกฤษณา หรือไม้หอม มักพบขึ้นตามป่าดงดิบตามเชิงเขาใกล้ลำห้วย หรือบนที่ชุ่มชื้น เป็นไม้ที่มีกิล่นหอมนิยม
ใช้กันมานาน ซึ่งโดยทั่วไปแล้วส่วนที่เรียกว่าแก่น ความจริงแล้วไม่ใช่แก่น แต่เป็นส่วนที่มีสีน้ำตาล
หรือดำกว่าเนื้อไม้ส่วนอื่นๆ และมีความหนาแน่นสูงกว่าเนื้อไม้ธรรมดา  ซึ่งเกิดจากปฏิกิริยาโต้ตอบภายในเนื้อไม้เอง
เนื้อไม้เอง เนื่องจากการเกิดบาดแผลโดยวิธีการใดๆ ก็ตาม จะเกิดการหลั่งสาร oleoresin เข้ามาสะสม
บริเวณรอบๆ เนื้อไม้ที่เกิดบาดแผลนั้น ครั้นเวลาผ่านไปนานเข้าจะมีสารดังกล่าวสะสมมากขึ้นทุกทีจนเปลี่ยนสี
ของเนื้อไม้จากสีขาวมาเป็นสีเหลือง สีน้ำตาล และมีสีดำจนน้ำมันเยิ้มยิ่งเวลาผ่านไปการสะสมของสารเหล่านี้
ก็มีมากขึ้นได้มีการค้นคว้าและประมาณว่าต้น กฤษณาที่อยู่ในป่าธรรมชาตินั้นมีเพียง 10% เท่านั้น ที่สามารถเกิด
สารกฤษณาได้ นอกจากนี้คุณภาพของเนื้อไม้กฤษณาที่ดีเกรดสูงจะได้มากจากต้นกฤษณาที่มีอายุตั้งแต่ 50 ปี
ขึ้นไปประมาณกันว่าหนึ่งในสิบของต้นกฤษณาที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 20 ซม.ขึ้นไปอาจจะผลิตเนื้อไม้กฤษณา
ได้ประมาณ 1 กก. เท่านั้น

กฤษณาเป็นสินค้าที่มีราคาสูงมากๆ พอกับทองคำจะได้รับการขนานนามนตะวันออกกลางว่า "ทองคำสีดำ"
เป็นเหตุให้เกิดการหาไม้กฤษณาออกจากป่ามาขายกัน จนใกล้จะสูญพันธุ์ ถึงกระนั้นก็ยังไม่มีสินค้ามากเพียงพอ
กับความต้องการของตลาดโลก ดั้งนั้นในปัจจุบัน IUCN 2001 จัดให้ไม้ กฤษณาอยู่ในกลุ่มไม้ที่ใกล้สูญ
พันธุ์ขั้นวิกฤต
« Last Edit: มกราคม 15, 2015, 06:25:05 pm by designbydx »

Offline designbydx

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
    • View Profile
ร่องรอยอะไรเอ่ย

สัตว์ป่าทุกชนิดสัญชาตญาณระวังไพรและตื่นกลัวง่าย ฉะนั้นโอกาศที่เราจะพบเห็นตัวในสภาพธรรมชาติ
ยากยิ่งนัก ร่องรอยต่างๆ จึงเป็นสิ่งบอกถึงการอยู่ ถิ่นกระจาย และพฤติกรรมของสัตว์ต่างๆ ในพื้นที่ได้ดีพอสามควร
นอกจากรอยตีนสัตว์แล้ว ตามเส้นทางเราลองสังเกตุดูอาจจะมีร่องรอยอื่นๆ ทั้งรอยขุ่ยเขี่ย รอยกัดแทะ กองมูล ของสัตว์ป่า
ซึ่งเป็นหลักฐานให้เราทราบว่าเป็นร่องรอยสัตว์ป่าชนิดใด เมื่อสังเกตุดูให้ดีทำให้เราสามารถคาดการณ์ได้ว่าร่องรอยที่พบเห็นมีระยะเวลา
ประมาณกี่วัน

Offline designbydx

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
    • View Profile
แม่เจ้าไม่เหลือใบ

Offline designbydx

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
    • View Profile
เต็มต้นเลย

Offline designbydx

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
    • View Profile
ต้นไม้พันต้นไม้